เปลี่ยนการแสดงผล
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
KING MONGKUT'S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK
เปลี่ยนการแสดงผล :
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
Search for:
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ. มอบเครื่องอบฆ่าเชื้อเอนกประสงค์ด้วยโอโซน ให้แก่โรงพยาบาลราชวิถี
04 กุมภาพันธ์ 2565
เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2565 รองศาสตราจารย์ ดร.สุรพันธ์ ยิ้มมั่น คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วย อาจารย์ ดร.รสจรินทร์ รัตนสุนทร อาจารย์ประจำคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์
มอบนวัตกรรมเครื่องอบฆ่าเชื้อเอนกประสงค์ด้วยโอโซน จำนวน 1 เครื่อง ให้แก่โรงพยาบาลราชวิถี
โดยมี นายแพทย์จินดา โรจนเมธินทร์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลราชวิถี เป็นผู้รับมอบ เพื่อนำไปใช้สนับสนุนการทำงานของบุคลากรทางการแพทย์ ในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยประสิทธิภาพของเครื่องอบฆ่าเชื้อเอนกประสงค์ด้วยโอโซน เป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับการอบฆ่าเชื้อเอนกประสงค์ด้วยโอโซน ซึ่งการฆ่าเชื้อด้วยโอโซนจะสามารถแทรกซึมไปได้ทุกที่ของอุปกรณ์เครื่องมือหรือห้องที่ต้องการฆ่าเชื้อ สำหรับเครื่องมือนี้จะใช้หลักการให้อากาศไหลผ่านหลอดยูวีซีที่ความยาวคลื่น 185 นาโนเมตร เพื่อให้ออกซิเจน (O2) ในอากาศเกิดการแตกตัวและกลายสภาพเป็นโอโซน (O3) ซึ่งการสร้างโอโซนด้วยหลอดยูวีซีจะมีความปลอดภัยจากรังสี X-Ray เมื่อเทียบกับการสร้างโอโซนด้วยวิธีอื่น ส่วนการสลายโอโซนให้กลับเป็นออกซิเจนนั้นสามารถกระทำได้โดยใช้หลักการนำโอโซนไหลผ่านหลอดยูวีซีตามความยาวคลื่น โอโซนก็จะกลายกลับเป็นออกซิเจนดังเดิม ซึ่งนวัตกรรมนี้เป็นผลงานวิจัยของคณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ได้จัดทำขึ้นช่วยเหลือทางการแพทย์
สนใจติดต่อ เครื่องอบฆ่าเชื้อเอนกประสงค์ด้วยโอโซน ภาควิชาฟิสิกส์อุตสาหกรรมและอุตสาหกรรมและอุปกรณ์การแพทย์ คณะวิทยาศาสตร์ประยุกต์ มจพ. หรือ Email:
rodjarin.r@sci.kmutnb.ac.th
พัทธนันท์/ข่าว
คณะวิทย์ฯ/ข้อมูล