เปลี่ยนการแสดงผล
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
KING MONGKUT'S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK
เปลี่ยนการแสดงผล :
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
Search for:
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นักวิจัย มจพ. ติดอันดับ TOP 2% แรกของโลก 2021
27 ตุลาคม 2564
ขอแสดงความยินดีกับ 6 นักวิจัยของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ที่ได้รับการจัดอันดับใน
TOP 2% แรกของโลก ปี 2021
โดยทีมนักวิทยาศาสตร์จากมหาวิทยาลัยแสตนฟอร์ด สหรัฐอเมริกา (Stanford University, USA) ซึ่งรวบรวมข้อมูลผลงานของนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำมากกว่า 100,000 คน ประกอบด้วยข้อมูลผลงานตีพิมพ์ จำนวนการอ้างอิง และ h-index ในฐานข้อมูล Scopus แบ่งเป็นข้อมูลตลอดชีวิตการทำงานของนักวิจัย (Career-long Citation Impact) และข้อมูล 1 ปี (Single Year Citation Impact) โดยจัดอันดับนักวิทยาศาสตร์แบ่งออกเป็น 22 สาขาและ 176 สาขาย่อย โดยข้อมูลปี 2021 ที่เผยแพร่นี้เป็นข้อมูลที่รวบรวมจากฐานข้อมูล Scopus วันที่ 1 สิงหาคม 2020
นักวิจัย มจพ. ในการจัดอันดับ
Career-Long Citation Impact 2020
หรือ นักวิจัยที่มีการอ้างอิงตลอดชีวิตการทำงานสูงที่สุด ซึ่งเป็นนักวิจัยไทยทั้งหมด 191 คน นักวิจัยทั่วโลก 186,117 คน
ศาสตราจารย์ ดร.ปฏิพัทธ์ ทวนทอง (Thounthong, Phatiphat)
ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
อันดับที่ 51 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Electrical & Electronic Engineering
ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน (Siengchin, Suchart)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและกระบวนการ
บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน
อันดับที่ 129 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Polymers
รองศาสตราจารย์ ดร.มนตรี ศิริปรัชญานันท์ (Siripruchyanun, Montree)
ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
อันดับที่ 178 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Electrical & Electronic Engineering
นักวิจัย มจพ. ในการจัดอันดับ
Single Year Citation Impact 2020
หรือ นักวิจัยที่มีการอ้างอิงในปี ค.ศ. 2020 สูงที่สุด ซึ่งเป็นนักวิจัยไทยทั้งหมด 263 คน นักวิจัยทั่วโลก 190,063 คน
ดร. Sanjay Mavinkere Rangappa (Sanjay, M. R.)
กองส่งเสริมวิชาการ สำนักงานอธิการบดี
อันดับที่ 30 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Polymers
ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน (Siengchin, Suchart)
ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกลและกระบวนการ
บัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน
อันดับที่ 39 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Polymers
ศาสตราจารย์ ดร.ปฏิพัทธ์ ทวนทอง (Thounthong, Phatiphat)
ภาควิชาครุศาสตร์ไฟฟ้า คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
อันดับที่ 46 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Electrical & Electronic Engineering
ศาสตราจารย์ ดร.ปิติ สุคนธสุขกุล (Sukontasukkul, Piti)
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
อันดับที่ 63 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Building & Construction
ดร. Jyotishkumar Parameswaranpillai (Parameswaranpillai, Jyotishkumar )
กองส่งเสริมวิชาการ สำนักงานอธิการบดี
อันดับที่ 144 ของไทย สาขาที่ได้รับการจัดอันดับ Polymers
อ้างอิงข้อมูลจาก :
Jeroen Baas, Kevin Boyack, John P.A. Ioannidis
“August 2021 data-update for "Updated science-wide author databases of standardized citation indicators"” 20 October 2021|Version 3|DOI:10.17632/btchxktzyw.3
https://elsevier.digitalcommonsdata.com/datasets/btchxktzyw/3
Career-Thai-2020.pdf
ดาวน์โหลด
Single-Thai-2020.pdf
ดาวน์โหลด