เปลี่ยนการแสดงผล
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
KING MONGKUT'S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK
เปลี่ยนการแสดงผล :
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
Search for:
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นวัตกรรม VR การพัฒนาห้องปฏิบัติการการทดลองทางเคมีในชุมชนโลกเสมือนจริง ของ TGGS ออกรายการ ข่าว 3 มิติ ทางช่อง 3 ณ โรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์
08 พฤศจิกายน 2566
ศาสตราจารย์ ดร.นิสัย เฟื่องเวโรจน์สกุล คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ สิรินธร ไทย-เยอรมัน (TGGS) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) พร้อมด้วย รองศาสตราจารย์ ดร. อุณาโลม เวทย์วัฒนะ ฮาร์ทลี่ อาจารย์ประจำหลักสูตรวิศวกรรมเคมีและกระบวนการ อาจารย์เจ้าของผลงาน ร่วมถ่ายทำบันทึกเทป สกู๊ปรายการข่าว 3 มิติ ทางสถานีโทรทัศน์ไทยทีวีสี ช่อง 3 ผลงานนวัตกรรม VR การพัฒนาห้องปฏิบัติการการทดลองทางเคมีในชุมชนโลกเสมือนจริง (Development of Chemistry Lab in Metaverse) ให้กับโรงเรียนเศรษฐเสถียร ในพระราชูปถัมภ์ เพื่อช่วยเหลือผู้บกพร่องทางการได้ยินและยังมีโครงการจัดทำให้กับโรงเรียนนำร่องอีก 5 โรงเรียน โดยโครงการนี้ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยและพัฒนาจากกองทุนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ซึ่งเป็นการพัฒนาร่วมกันระหว่างนักวิจัยไทยและนักวิจัยเยอรมัน ตามพันธกิจหลักของบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติ ไทย-เยอรมัน มจพ. ที่ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศไทยและเยอรมัน ในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ที่เป็นประโยชน์ด้านการศึกษาและพัฒนาบุคลากรให้แก่ประเทศ ในโครงการมีนักวิจัยไทยที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมเคมี และมีนักวิจัยชาวเยอรมันที่เป็นผู้เชี่ยวชาญด้าน Virtual reality ความจริงเสมือน ทำงานร่วมกันเพื่อพัฒนา ห้องปฏิบัติการเสมือนจริงสำหรับการทดลองวิชาเคมีสำหรับนักเรียน ณ โรงเรียนเศรษฐเสถียร โดยออกอากาศเมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2566 สามารถรับชมย้อนหลังได้ที่
https://fb.watch/oaC1NZnX6y/
พัทธนันท์/ข่าว
วุฒิภัทร/ภาพ