เปลี่ยนการแสดงผล
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
KING MONGKUT'S UNIVERSITY OF TECHNOLOGY NORTH BANGKOK
เปลี่ยนการแสดงผล :
นักศึกษา
ศิษย์เก่า
บุคลากร
Search for:
หน้าแรก
เกี่ยวกับ มจพ.
ประวัติ
สัญลักษณ์
วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / สมรรถนะหลัก / และค่านิยมร่วม
โครงสร้างองค์กร
วิทยาเขต
คณะผู้บริหาร
นโยบายมหาวิทยาลัย
รายงานประจำปี
องค์กรโปร่งใส
คณะและหน่วยงาน
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. ปราจีนบุรี
มจพ. ระยอง
รับสมัครนักศึกษา
ปวช และปริญญาตรี
ปริญญาโทและปริญญาเอก
วิจัยและบริการวิชาการ
ผลงานวิจัยเด่น
ฐานข้อมูลนักวิจัย
วารสารวิชาการ
งานบริการวิชาการ
ติดต่อ
ชีวิตในรั้วมหาวิทยาลัย
มจพ. กรุงเทพฯ
มจพ. วิทยาเขตปราจีนบุรี
มจพ. วิทยาเขตระยอง
ITA
มจพ. ลงนามความร่วมมือ MOA กับ มหาวิทยาลัยอากาศยานและอวกาศหนานจิง ประเทศจีน เพื่อพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า การบินและอวกาศ
09 กรกฎาคม 2567
วันที่ 9 กรกฎาคม 2567 ณ ห้องประชุมราชพฤกษ์ อาคารนวมินทรราชินี มจพ. ศาสตราจารย์ ดร.สุชาติ เซี่ยงฉิน อธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.) เป็นประธานในพิธีลงนามบันทึกข้อตกลงความร่วมมือทางวิชาการ (MOA) ระหว่าง ศาสตราจารย์ ดร.สมฤกษ์ จันทรอัมพร รองอธิการบดีฝ่ายวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ มจพ. กับ ศาสตราจารย์ ดร.หวง จือชิว รองอธิการบดี Nanjing University of Aeronautics and Astronautics (
NUAA
)
มหาวิทยาลัยอากาศยานและอวกาศหนานจิง
สาธารณรัฐประชาชนจีน โดยมีผู้บริหารของทั้ง 2 แห่ง ร่วมเป็นสักขีพยาน และร่วมกันเปิดศูนย์วิจัยและนวัตกรรมภาคีเครือข่าย ไทย-จีน (Sino-Thai Joint-Research and Innovation Center (STRIC)) ณ ชั้น 5 อาคารบัณฑิตวิทยาลัยวิศวกรรมศาสตร์นานาชาติสิรินธร ไทย-เยอรมัน (TGGS) มจพ.
วัตถุประสงค์ เพื่อร่วมกันจัดตั้ง ห้องปฏิบัติการร่วมระหว่างประเทศว่าด้วยการผลิตขั้นสูง (International Joint Laboratory Agreement on Advanced Manufacturing) และเปิดศูนย์วิจัยและนวัตกรรมภาคีเครือข่ายไทย-จีน (Sino-Thai Joint-Research and Innovation Center (STRIC)) โดยเน้นวิจัยและพัฒนาด้าน วิศวกรรมพื้นผิว เทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะด้วยความแม่นยำสูง การวิเคราะห์การชนของยานยนต์และความปลอดภัย
เพื่อการพัฒนาอุตสาหกรรมยานยนต์ไฟฟ้า การบินและอวกาศ
เป็นต้น
ความร่วมมือนี้ สะท้อนให้เห็นถึงความทุ่มเท ความเชี่ยวชาญ ของทั้งสองมหาวิทยาลัย ไม่ได้เป็นเพียงการสร้างความร่วมมืออย่างเป็นทางการเท่านั้น ยังเป็นการวางรากฐานสำหรับการแบ่งปันความรู้ การวิจัยที่ล้ำสมัย และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีที่จะเป็นประโยชน์ต่อประเทศและประชาคมโลก การก่อตั้ง STRIC สะท้อนให้เห็นถึงความมุ่งมั่นร่วมกันนำสู่ความเป็นเลิศในการผลิตขั้นสูง
รุ่งนภา/ข่าว
สมเกษ, วุฒิสิทธิ์/ถ่ายภาพ