ห้องปฏิบัติการ
ประเภทและอัตราการบริการห้องปฏิบัติการ (ตามสาขาเทคโนโลยี)
ลำดับ
|
รายการห้องปฏิบัติการ
|
ราคา (บาท) |
หน่วยงาน/ส่วนงาน/บุคลากร/นักศึกษาของมหาวิทยาลัย |
สถาบันการศึกษาอื่น |
หน่วยงานภาครัฐหรือในกำกับของรัฐ |
ภาคเอกชน |
1 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมเครื่องกลและการออกแบบ |
10,000 บาท/วัน |
14,000 บาท/วัน |
16,000 บาท/วัน |
20,000 บาท/วัน |
2 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมโทรคมนาคม |
2,500 บาท/วัน |
3,500 บาท/วัน |
4,000 บาท/วัน |
5,000 บาท/วัน |
3 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมไฟฟ้ากำลังและพลังงาน |
8,000 บาท/วัน |
11,200 บาท/วัน |
12,800 บาท/วัน |
16,000 บาท/วัน |
4 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมวัสดุและการผลิต |
17,000 บาท/วัน |
23,800 บาท/วัน |
27,200 บาท/วัน |
34,000 บาท/วัน |
5 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมระบบซอฟต์แวร์ |
2,750 บาท/วัน |
3,850 บาท/วัน |
4,400 บาท/วัน |
5,500 บาท/วัน |
6 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิชาวิศวกรรมเคมีและกระบวนการ |
7,000 บาท/วัน |
9,800 บาท/วัน |
11,200 บาท/วัน |
14,000 บาท/วัน |
7 |
ห้องปฏิบัติการเรียนรู้เพื่อพัฒนานวัตกรรม
|
08.00 – 16.00 น.
ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย
นอกเวลา เหมา 200 บาท/คน
(อย่างน้อย 3 คน)
ปิด 20.00 น. |
50 บาท/วัน/คน
(08.00 – 16.00 น.)
นอกเวลา เหมา 200 บาท/คน
(อย่างน้อย 3 คน)
ปิด 20.00 น. |
150 บาท/วัน/คน
(08.00 – 16.00 น.)
นอกเวลา เหมา 200 บาท/คน
(อย่างน้อย 3 คน)
ปิด 20.00 น. |
200 บาท/วัน/คน
(08.00 – 16.00 น.)
นอกเวลา เหมา 200 บาท/คน
(อย่างน้อย 3 คน )
ปิด 20.00 น. |
8 |
ห้องปฏิบัติการทดสอบยานยนต์ขนาดใหญ่ |
7,800 บาท/วัน |
15,600 บาท/วัน |
25,000 บาท/วัน |
31,250 บาท/วัน |
9 |
ห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมการประเมินและความปลอดภัยยานยนต์ |
9,850 บาท/วัน |
19,750 บาท/วัน |
31,600 บาท/วัน |
39,500 บาท/วัน |
รายละเอียดการบริการห้องปฏิบัติการ (ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง)
1. ห้องปฏิบัติการด้านกลศาสตร์ของแข็ง (Solid Mechanics Lab)
1.1 ห้องปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีพื้นผิวและกลศาสตร์การสัมผัส (Contact Mechanics and Surface Engineering Lab)
1.2 ห้องปฏิบัติการด้านกระบวนการทางวัสดุ (Material Processing and Characterization Lab)
สาขาวิชา MESD, MAE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 706 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. กรุณา ตู้จินดา
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/solid-mechanics-laboratory
ห้องปฏิบัติการด้านกลศาสตร์ของแข็ง ให้บริการทดสอบและวิเคราะห์วัสดุภายใต้ศูนย์วิจัยวัสดุวิศวกรรม กระบวนการผลิต และวิศวกรรมพื้นผิว โดยให้บริการครอบคลุมในด้านการทดสอบและวิเคราะห์คุณสมบัติทางกล การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุ และการปรับปรุงคุณสมบัติของวัสดุ
2. สนามทดสอบการเคลื่อนที่ยานยนต์ (Automotive Test Track)
-เป็นส่วนหนึ่งของห้องปฏิบัติการทดสอบยานยนต์ขนาดใหญ่และห้องปฏิบัติการด้านสถานที่ปฏิบัติการและอุปกรณ์ควบคุมด้านยานยนต์
สาขาวิชา ASAE, MAE
ตำแหน่งที่ตั้ง Automotive Testing Facility KMUTNB วิทยาเขตปราจีนบุรี
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
เครื่องมือ • Vehicle Speed meter and accelerometer
• Vehicle Autonomous steering control system
สนามทดสอบการเคลื่อนที่ยานยนต์ ทำการทดสอบเกี่ยวกับ ความเร่ง (Accelerometer) ความเร็ว (Speed meter) และระบบขับขี่อัตโนมัติ (Autonomous steering control system) ของรถยนต์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินสมถรรนะการขับขี่และประสิทธิภาพการทำงานของยานยนต์สมัยใหม่โดยรวมไปถึงการทำงานของระบบเบรกที่ทำให้เกิดความปลอดภัยต่อผู้ใช้รถใช้ถนน อีกทั้งยังมีการประเมินการระบบตรวจสอบจุดบอดของกระจกมองข้างรถยนต์ (Blind spot detection) อีกด้วย
3. ห้องปฏิบัติการทดสอบการกระแทกของชิ้นส่วนยานยนต์ (Automotive Component Impact Test Laboratory)
- เป็นส่วนหนึ่งของห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมการประเมินและความปลอดภัยยานยนต์ ห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านยานยนต์และห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องทดสอบยานยนต์
สาขาวิชา ASAE, MAE
ตำแหน่งที่ตั้ง Automotive Testing Facility KMUTNB วิทยาเขตปราจีนบุรี
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
เครื่องมือ • Small concrete barrier (4 ton weight) with load cell
• Wireless G-sensor
ห้องปฏิบัติการทดสอบการกระแทกของชิ้นส่วนยานยนต์ (Automotive Component Impact Test Laboratory) ใช้สำหรับประเมินคุณภาพของชิ้นส่วนยานยนต์สมัยใหม่ที่อยู่ภายในห้องโดยสาร มีพื้นที่ใช้สอยประมาณ 600 ตารางเมตร ทำความเร็วได้สูงถึง 50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สามารถควบคุมความเร็วที่ใช้ทดสอบพร้อมทั้งพุ่งเข้าปะทะกับแท่นรับแรงกระแทกได้อย่างแม่นยำ ห้องปภิบัติการ ฯ ถูกออกแบบให้พัฒนาต่อยอดและตอบโจทย์กลุ่มยานยนต์สมัยใหม่ (First S-Curve) มีความพร้อมในการยกระดับผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพสำหรับใช้ภายในประเทศ
4. อาคารปฏิบัติการทดสอบการชนยานยนต์แบบทั้งคัน (Full Vehicle Crash Test Laboratory)
- เป็นส่วนหนึ่งของห้องปฏิบัติการสาขาวิศวกรรมการประเมินและความปลอดภัยยานยนต์ ห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมสถานที่ปฏิบัติการด้านยานยนต์และห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องทดสอบยานยนต์
สาขาวิชา ASAE, MAE
ตำแหน่งที่ตั้ง Automotive Testing Facility KMUTNB วิทยาเขตปราจีนบุรี
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/full-vehicle-crash-test-laboratory
อาคารปฏิบัติการทดสอบการชนยานยนต์แบบทั้งคัน (Full Vehicle Crash Test Laboratory) ถูกออกแบบให้มีความพร้อมทั้งทางด้านเครื่องมือ อุปกรณ์วัดค่าทางวิศวกรรม หุ่นทดสอบการชนตามมาตรฐานสากล (Hybrid III 50th Dummy) และสามารถรองรับรูปแบบการชนได้ทั้ง การชนแบบหน้าเต็ม (Full frontal) การชนแบบเยื้องศูนย์ (Offset impact) การชนแบบด้านข้าง (Side impact) พร้อมด้วยการประเมินความคุณภาพจุดยึดที่นั่งของระบบรางและราวกันตก (Guard rail) ที่ผลิตจากยางพาราในประเทศ นอกเหนือจากนี้ยังมีเครื่องมือที่ใช้สำหรับวัดความเร่งที่เกิดขึ้นที่เสาโครงสร้างของรถยนต์ ( Two b-pillar accelerometers) และแรงตึงของเข็มขัดนิรภัยที่เกิดขึ้นจากการชน (Belt tension sensor)
5. พื้นที่ทดสอบสมรรถนะของระบบเบรคของยานยนต์ (Automotive Brake Performance Test Area)
- เป็นส่วนหนึ่งของห้องปฏิบัติการทดสอบยานยนต์ขนาดใหญ่และห้องปฏิบัติการด้านสถานที่ปฏิบัติการและอุปกรณ์ควบคุมด้านยานยนต์
สาขาวิชา ASAE, MAE
ตำแหน่งที่ตั้ง Automotive Testing Facility KMUTNB วิทยาเขตปราจีนบุรี
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
เครื่องมือ • High friction surface
• Low friction surface
• Spray water equipment
พื้นที่ทดสอบสมรรถนะของระบบเบรคของยานยนต์ (Automotive Brake Performance Test Area) เป็นพื้นที่ที่ถูกอออกแบบโดยการจำลองสภาวะพื้นที่เปียกและแห้งที่เกิดขึ้นภายในประเทศ ซึ่งมีทั้งพื้นผิวที่มีค่าสัมประสิทธิ์แรงเสียดทานต่ำและแรงเสียดทานสูง ทั้งนี้เพื่อประเมินคุณภาพและประสิทธิภาพด้านการห้ามล้อของยานยนต์ประเภทรถยนต์ รถสามล้อ รถจักรยานยนต์ ตามมาตฐานสากลให้อยู่ในระยะที่ปลอดภัยรวมทั้งระบบการทำงานของระบบป้องกันล้อล็อค (Anti-lock brake system, ABS) อีกทั้งยังเป็นการยกระดับประสิทธิภาพความปลอดภัยเชิงป้องกัน และประสิทธิภาพการเบรกอัตโนมัติของยานยนต์สมัยใหม่ (Autonomous emergency braking system, AEB)
6. ห้องปฏิบัติการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์ (Polymer Processing Laboratory) และห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ (Materials Testing Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้องปฏิบัติการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์: ชั้น 4 อาคารปฏิบัติการ TGGS
ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ : ชั้น 3 อาคารปฏิบัติการ TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. รังสิมา หญีตสอน
เครื่องมือ ห้องปฏิบัติการผลิตและขึ้นรูปพอลิเมอร์
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/polymer-processing-laboratory
ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/materials-testing-laboratory
เหมาะสำหรับกับการวิจัยและพัฒนาออกสูตรส่วนผสมวัสดุพอลิเมอร์ชนิดใหม่ๆ อีกทั้งยังให้บริการตรวจสอบและทดสอบเม็ดพลาสติก (เรซิ่น) หรือผลิตภัณฑ์พลาสติกในท้องตลาด เช่น การทดสอบสมบัติทางกล (ความทนแรงดึง ความทนแรงดัดโค้ง และความทนแรงกระแทก) สมบัติทางความร้อน (อุณหภูมิคล้ายแก้ว อุณหภูมิหลอมเหลว และอุณหภูมิก่อเกิดผลึก) และสมบัติทางเคมีของวัสดุ เป็นต้น
7. ห้องปฏิบัติการทางโครงสร้างโลหะวิทยา (Microstructure Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 608 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. ยิ่งยศ เอื้ออุฬาร
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/microstructure-laboratory
ห้องปฏิบัติการสำหรับตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของวัสดุ เช่น โครงสร้างมหภาค (Macrostructure) โครงสร้างจุลภาค (Microstructure) และทดสอบค่าความแข็งของวัสดุของวัสดุโลหะ โดยห้องปฏิบัติการนี้จะมี อุปกรณ์กล้อง Optical microscope คุณภาพสูงสำหรับตรวจสอบและถ่ายภาพที่สามารถตรวจสอบลักษณะทางกายภาพของวัสดุทั้งในระดับมหาภาคและระดับจุลภาค นอกจานี้ยังมีอุปกรณ์สำหรับวัดค่าความแข็งของวัสดุ แบบ Micro Vickers ที่เหมาะกับการวัดค่าความแข็งของวัสดุเกือบทุกชนิดอีกด้วย
8. ห้องปฏิบัติการเตรียมตัวอย่างทางโลหะวิทยา (Materials Preparation Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 608 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. พฤทธิ์ โกวิทย์วรางกูร
เครื่องมือ • Cut-off machine
• Manual Grinder/Polisher
• Laboratory fume hood exhaust
ห้องปฏิบัติการเตรียมชิ้นงานสำหรับตรวจสอบคุณลักษณะทางกายภาพของวัสดุ เช่น โครงสร้างมหภาค (Macrostructure) โครงสร้างจุลภาค (Microstructure) และทดสอบค่าความแข็งของวัสดุ เป็นต้น โดยเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ห้องปฏิบัติการนี้มี ได้แก่ เครื่องสำหรับเตรียมชิ้นงาน ได้แก่ เครื่องตัดโลหะ, เครื่องขัดผิวชิ้นงาน, อุปกรณ์ขึ้นตัวเรือน (Cold mounting), อุปกรณ์สำหรับกัดกรดเพื่อตรวจสอบโครงสร้างจุลภาค ฯลฯ
9. ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์และทดสอบแบตเตอรี่ (Batterie Test Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 608 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. กัมปนาท ศิริเวทิน
เครื่องมือ • Battery analyzer
• AutoGrid Software
ห้องปฏิบัติการสำหรับงานวิจัยการสร้างเซลล์แบตเตอรี่ขนาดเล็กไปจนถึงวิเคราะห์ทดสอบความทนทานทของเซลล์และแบตเตอรี่สำเร็จรูป นอกจากนั้นห้องปฏิบัติการยังมีเครื่อง AutoGrid และ Software สำหรับวิเคราะห์ความสามารถในการขึ้นรูปของโลหะแผ่นในอุตสาหกรรม โดยวิเคราะห์จากการตีกริชที่ชิ้นงานจริงก่อนขึ้นรูป เมื่อขึ้นรูปชิ้นงานแล้วจะทำให้กริชขยายตัวออกทำให้สามารถวิเคราะห์ค่าตัวแปรต่างๆที่เปลี่ยนไปได้ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ เช่น คุณสมบัติการขึ้นรูป stress, strain ที่เกิดขึ้นกับชิ้นงานรวมไปถึงสามารถวิเคราะห์ FLC curve ได้
10. ห้องปฏิบัติการแปลงกำลังงานไฟฟ้า (Electrical Power Conversion Laboratory)
สาขาวิชา EPE, ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 407 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ศ.ดร. นิสัย เฟื่องเวโรจน์สกุล
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/electrical-power-conversion-laboratory
11. ห้องปฏิบัติการ High Voltage and Partial Discharge Test Laboratory
สาขาวิชา EPE, ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง แล็บ HV ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. ธนพงศ์ สุวรรณศรี
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/high-voltage-laboratory
12. ห้องปฏิบัติการคลื่นความถี่วิทยุและไมโครเวฟ
สาขาวิชา CSE, ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง ชั้น 4 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ. ดร. สุรเมธ เฉลิมวิสุตม์กุล
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/high-frequency-systems-laboratory-hfs
13. ห้องปฏิบัติการวิเคราะห์โครงข่ายไฟฟ้าและระบบควบคุมอัตโนมัติ (Power Grid Analytics and Automation Laboratory)
สาขาวิชา EPE, ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 407 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. วิจารณ์ หวังดี
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/power-grid-analytics-and-automation-laboratory
14. ห้องปฏิบัติการVR Laboratory
- เป็นส่วนหนึ่งของห้องปฏิบัติการวิจัยระบบซอฟต์แวร์
สาขาวิชา SSE, ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 806 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ดร. สรรค์ศิริ ธนชุติวัต
ดร. ชยากร เนตรมัย
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/software-systems-laboratory
15. ห้องปฏิบัติการกระบวนการทางชีวภาพ (Biochemical Process Laboratory)
สาขาวิชา CPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 1012 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ร.ศ. ดร. มาลินี ศรีอริยนันท์
เครื่องมือ • Brookfield Viscometer
• SL CSTR Fermentor
• PCR Machine
• Real Time PCR Machine
• Gel Electrophoresis
ห้องปฏิบัติการกระบวนการทางชีวภาพมุ่งเน้นงานวิจัยเชิงประยุกต์เพื่อพัฒนาการใช้ทรัพยากรได้อย่างคุ้มค่าและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยอาศัยความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีชีวภาพและกระบวนการเคมีในการสกัดน้ำตาลเพื่อผลิตเอทานอลจากชีวมวลซึ่งเป็นขยะเหลือทิ้งจากการเกษตรกรรม และเพื่อผลิตสารชีวภัณฑ์หรือสารที่มีมูลค่าสูง และนอกจากนี้ห้องปฏิบัติการยังมุ่งเน้นส่งเสริมการวิจัยทางชีวภาพเชิงพาณิชย์โดยศึกษาการแยกโครงสร้างชีวมวลและการสังเคราะห์ผลิตภัณฑ์ชีวภาพเพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมและการวิจัยต่อไป
16. กลุ่มนวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Architecture Research Group)
สาขาวิชา ESSE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 807 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ. ดร. รัชตะ อัศวรุ่งนิรันดร์
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/architecture-research-group
กลุ่มนวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ดำเนินงานวิจัย เพื่อวิเคราะห์ ออกแบบ และสร้างสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ และ/หรือ ระบบคอมพิวเตอร์ประเภทต่าง ๆ อาทิเช่น การออกแบบหน่วยประมวลผลแบบกราฟฟิกประเภทใหม่ที่มีสามารถสูงขึ้นในการประมวลผลสำหรับงานประเภท AI หรือ machine learning การออกแบบหน่วยประมวลผลและระบบคอมพิวเตอร์เพื่อเพิ่ม power-efficiency และ reliability สำหรับ embedded devices และ mobile devices ในงานด้าน IoT หรือการออกแบบระบบการทำ container ประสิทธิภาพและความเร็วสูงเพื่อใช้ในการประมวลผลแบบ cloud computing เป็นต้น
17. ห้องปฏิบัติการจำลองการขึ้นรูปโลหะ (Simulation Lab for Metal Forming)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 607 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. ยิ่งยศ เอื้ออุฬาร
เครื่องมือ • WorkStation (x5)
• Deform 2D/3D software for die and process designs in metal forming process
ห้องปฏิบัติการสำหรับจำลองการขึ้นรูปโลหะด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์โดยใช้หลักการทาง ไฟไนต์เอลิเมนต์ เหมาะสำหรับงานทุบขึ้นรูปโลหะ Forging, Stamping และออกแบบแม่พิมพ์ขั้นสูง โดยโปรแกรมสามารถทำนายสมบัติทางกล เช่น stress, strain, displacement, ลักษณะการเสียรูปของชิ้นงานหลังจากการขึ้นรูปรวมไปถึงแรงที่ใช้ในการขึ้นรูปและ Defects ที่เกิดจากการขึ้นรูปและแนะนำวิธีการแก้ใขเพื่อลดปัญหาที่เกิดขึ้นได้
18. ห้องปฏิบัติการจำลองกระบวนการทางโลหะวิทยา (Metallurgical Process Modeling Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 608 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. พฤทธิ์ โกวิทย์วรางกูร
เครื่องมือ • Casting and CFD simulation software (FlowCast and Flow 3D)
• Ladle and Tundish Water Model
• Furnance
ห้องปฏิบัติการสำหรับจำลองและวิเคราะห์การไหลของอากาศและของไหลชนิดอื่น ๆ เช่น พฤติกรรมการไหลของน้ำในแม่น้ำ พฤติกรรมการไหลของน้ำโลหะในทันดิช และการกวนน้ำ โลหะในเตาปรุง เป็นต้นโดยโปรแกรมจะต้องใช้ระเบียบปฏิบัติแบบ Finite Difference (FDM) และ/หรือ Finite Volume (FVM) ในการวิเคราะห์ปัญหาทางพลศาสตร์ของไหล และการถ่ายเท ความร้อน และใช้ระเบียบปฏิบัติแบบ Finite Element (FEM) ในการวิเคราะห์ปัญหา Thermal Stress Evaluation (TSE) และ Fluid Structure Interaction (FSI)
19. ห้องปฏิบัติการ Plant Simulation (Plant Simulation Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 608 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. ศรีสวัสดิ์ ทรัพย์สมบูรณ์
เครื่องมือ Technomatrix Plant Simulation Research license
ห้องปฏิบัติการสำหรับจำลองและวิเคราะห์กระบวนการบริหารและจัดการทรัพยากรในส่วนของการผลิต สินค้าคงคลังและโลจิสติกส์โดยจะคำนึงถึงปัจจัยด้านจำนวนและเวลาของแรงงาน เครื่องจักร วัตถุดิบและสิ่งอื่นที่จะทำให้กระบวนการผลิตทำงานได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ โดยจะวิเคราะห์หา Bottleneck ของกระบวนการทำงานและแสดงออกมาในรูปแบบของแผนภูมิแท่ง รวมถึงโปรแกรมสามารถแสดงแผนภาพการไหลที่แสดงถึงการทำงานจริง หรือ virtual commissioning ทั้งในรูปแบบของ 2D และ 3D
20. ห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุคอมโพสิตธรรมชาติ (Natural Composite Research Laboratory)
สาขาวิชา MPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 604 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ ผศ.ดร. รังสิมา หญีตสอน
เครื่องมือ • Rotary Evaporator
ห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุคอมโพสิตธรรมชาติ เป็นห้องปฏิบัติการสำหรับเตรียมวัสดุ/ตัวอย่าง เพื่อนำไปขึ้นรูปด้วยกระบวนการทางพอลิเมอร์หรือกระบวนการอื่นต่อไป เครื่องมือและอุปกรณ์ภายในห้องปฏิบัติการประกอบด้วย เครื่องระเหยสารแบบหมุนภายใต้สุญญากาศ (Rotary Evaporator) เครื่องกวนสารละลายพร้อมให้ความร้อน (Hotplate Stirrer) เครื่องปั่นสารละลาย (Overhead Stirrer) ตู้อบลมร้อน (Hot Air Oven) เครื่องเขย่าสาร (Orbital Shakers) เครื่องทำความสะอาดด้วยคลื่นความถี่สูง (Ultrasonic Cleaner) และเครื่องชั่งดิจิตอล (Portable Balance) เป็นต้น
21. ห้องปฎิบัติการวิศวกรรมตัวเร่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยา (Catalysis and Reaction Engineering Laboratory)
สาขาวิชา CPE
ตำแหน่งที่ตั้ง ห้อง 1014 ตึก TGGS
ผู้รับผิดชอบ รศ.ดร. อุณาโลม เวทย์วัฒนะ ฮาร์ทลี่
เครื่องมือ
https://tggs.kmutnb.ac.th/research-center-labs/catalysis-and-reaction-engineering-laboratory
ห้องปฎิบัติการวิศวกรรมตัวเร่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยา เป็นห้องปฏิบัติการสำหรับพัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาและกระบวนการทางเคมีที่เกี่ยวข้องกับพลังงานทางเลือกที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เพื่อตอบโจทย์ปัญหางานวิจัยขั้นพื้นฐานและขั้นสูงจากทั้งภาครัฐและภาคเอกชน ภายในห้องปฏิบัติการมีเครื่องปฏิกรณ์และเครื่องมือวิเคราะห์ขั้นสูงซึ่งได้รับความร่วมมือจากภาคอุตสากรรมและมหาวิทยาลัยชั้นนำในต่างประเทศ สำหรับทดสอบกระบวนการต่างๆ ได้แก่ การใช้ประโยชน์จากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ การเปลี่ยนชีวมวลเป็นพลังงานสีเขียว การผลิตก๊าซไฮโดรเจนจากปฏิกิริยาการแตกตัวของน้ำ การกำจัดไอเสียจากรถยนต์ด้วยเครื่องฟอกไอเสียเชิงเร่งปฏิกิริยา
อัตราการบริการห้องปฏิบัติการ (ตามความเชี่ยวชาญเฉพาะทาง)
ลำดับ
|
รายการห้องปฏิบัติการ
|
ราคา (บาท) |
ผู้รับผิดชอบ |
หน่วยงาน/ส่วนงาน/บุคลากร/นักศึกษาของมหาวิทยาลัย |
สถาบันการศึกษาอื่น |
หน่วยงานภาครัฐหรือในกำกับของรัฐ |
ภาคเอกชน |
1 |
ห้องปฏิบัติการด้านเทคโนโลยีพื้นผิวและกลศาสตร์การสัมผัส |
3,500 บาท/ชม. |
4,900 บาท/ชม. |
5,600 บาท/ชม. |
7,000 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. กรุณา ตู้จินดา |
2 |
ห้องปฏิบัติการด้านกระบวนการทางวัสดุ |
1,000 บาท/ชม. |
1,400 บาท/ชม. |
1,600 บาท/ชม. |
2,000 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. กรุณา ตู้จินดา |
3 |
ห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมสถานที่ปฏิบัติการด้านยานยนต์ |
250 บาท/วัน |
500 บาท/วัน |
800 บาท/วัน |
1,000 บาท/วัน |
รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
|
4 |
ห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมสถานที่และสิ่งอำนวยความสะดวกด้านยานยนต์ |
125 บาท/วัน |
200 บาท/วัน |
400 บาท/วัน |
500 บาท/วัน |
รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
|
5 |
ห้องปฏิบัติการด้านสถานที่ปฏิบัติการและอุปกรณ์ควบคุมด้านยานยนต์ |
750 บาท/วัน |
1,500 บาท/วัน |
2,400 บาท/วัน |
3,000 บาท/วัน |
รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
|
6 |
ห้องปฏิบัติการด้านการควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ ในห้องทดสอบยานยนต์ |
357 บาท/วัน |
750 บาท/วัน |
1,200 บาท/วัน |
1,500 บาท/วัน |
รศ.ดร. สายประสิทธิ์ เกิดนิยม
|
7 |
ห้องปฏิบัติการทดสอบวัสดุ |
150 บาท/ชม. |
210 บาท/ชม. |
240 บาท/ชม. |
300 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. รังสิมา หญีตสอน
|
8 |
ห้องปฏิบัติการขึ้นรูปพอลิเมอร์ |
100 บาท/ชม. |
140 บาท/ชม. |
160 บาท/ชม. |
200 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. รังสิมา
หญีตสอน |
9 |
ห้องปฏิบัติการทางโครงสร้างโลหะวิทยา |
100 บาท/ชม. |
140 บาท/ชม. |
160 บาท/ชม. |
200 บาท/ชม. |
รศ.ดร.ยิ่งยศ เอื้ออุฬาร |
10 |
ห้องปฏิบัติการเตรียมตัวอย่างทางโลหะวิทยา |
100 บาท/ชม. |
140 บาท/ชม. |
160 บาท/ชม. |
200 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. พฤทธิ์
โกวิทย์วรางกูร
|
11 |
ห้องปฏิบัติการ Battery Testing Laboratory |
250 บาท/ชม. |
350 บาท/ชม. |
400 บาท/ชม. |
500 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. กัมปนาท ศิริเวทิน |
12 |
ห้องปฏิบัติการ Electrical Power Conversion Laboratory |
500 บาท/ชม. |
700 บาท/ชม. |
800 บาท/ชม. |
1,000 บาท/ชม. |
ศ.ดร. นิสัย
เฟื่องเวโรจน์สกุล
|
13 |
ห้องปฏิบัติการ High Voltage and Partial Discharge Test Laboratory |
3,250 บาท/ชม. |
4,850 บาท/ชม. |
5,200 บาท/ชม. |
6,500 บาท/ชม. |
รศ.ดร. ธนพงศ์
สุวรรณศรี
|
14 |
ห้องปฏิบัติการคลื่นความถี่วิทยุและไมโครเวฟ |
500 บาท/ชม. |
700 บาท/ชม. |
800 บาท/ชม. |
1,000 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. สุรเมธ
เฉลิมวิสุตม์กุล
|
15 |
ห้องปฏิบัติการ Power Grid Analytics & Automation Laboratory |
850 บาท/ชม. |
1,190 บาท/ชม. |
1,360 บาท/ชม. |
1,700 บาท/ชม. |
รศ.ดร. วิจารณ์ หวังดี |
16 |
ห้องปฏิบัติการVR Laboratory |
450 บาท/ชม. |
630 บาท/ชม. |
720 บาท/ชม. |
900 บาท/ชม. |
ดร. สรรค์ศิริ ธนชุติวัต
ดร. ชยากร เนตรมัย |
17 |
ห้องปฏิบัติการกระบวนการทางชีววิทยา (Biochemical Process Laboratory) |
2,500 บาท/ชั่วโมง |
3,000 บาท/ชั่วโมง |
4,000 บาท/ชั่วโมง |
5,000 บาท/ชั่วโมง |
รศ.ดร. มาลินี ศรีอริยนันท์
|
18 |
ห้องปฏิบัติการ : กลุ่มนวัตกรรมด้านสถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ (Architecture Research Group) |
4,000 บาท/วัน |
5,500 บาท/วัน |
6,500 บาท/วัน |
8,000 บาท/วัน |
ผศ. ดร. รัชตะ อัศวรุ่งนิรันดร์ |
19 |
ห้องปฏิบัติการจำลองการขึ้นรูปโลหะ (Simulation Lab for Metal Forming) |
2,500
บาท/วัน |
3,500
บาท/วัน |
4,500
บาท/วัน |
5,500
บาท/วัน |
รศ. ดร. ยิ่งยศ เอื้ออุฬาร |
20 |
ห้องปฏิบัติการจำลองกระบวนการทางโลหะวิทยา (Metallurgical Process Modeling Laboratory) |
1,000
บาท/วัน |
1,400
บาท/วัน |
1,800
บาท/วัน |
2,200
บาท/วัน |
ดร. พฤทธิ์ โกวิทย์วรางกูร
|
21 |
ห้องปฏิบัติการ Plant Simulation (Plant Simulation Laboratory) |
500
บาท /ชั่วโมง |
700
บาท/ชั่วโมง |
800
บาท/ชั่วโมง |
1,000
บาท/ชั่วโมง |
รศ.ดร. ศรีสวัสดิ์ ทรัพย์สมบูรณ์
|
22 |
ห้องปฏิบัติการวิจัยวัสดุคอมโพสิตธรรมชาติ (Natural Composite Research Laboratory) |
100 บาท/ชม. |
140 บาท/ชม. |
160 บาท/ชม. |
200 บาท/ชม. |
ผศ.ดร. รังสิมา หญีตสอน
|
23 |
ห้องปฎิบัติการวิศวกรรมตัวเร่งปฏิกิริยาและปฏิกิริยา (Catalysis and Reaction Engineering Laboratory) |
650 บาท/ชม. |
800 บาท/ชม. |
950 บาท/ชม. |
1,500 บาท/ชม. |
รศ. ดร. อุณาโลม เวทย์วัฒนะ ฮาร์ทลี่
|
การเข้าใช้บริการ
สามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอรับบริการได้ที่ https://tggs.kmutnb.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/%E0%B9%81%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B9%8C%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%B3%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3.doc
ห้องปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาสำหรับอุตสาหกรรมเฉพาะองค์กร (Pre-R&D Laboratory, Pre-Lab) และพื้นที่ทำงานร่วมกัน (Co R&D Space)
TGGS จัดให้มีพื้นที่เพื่อบ่มเพาะความพร้อมเพื่องานวิจัยและพัฒนา (R&D) แก่ภาคอุตสาหกรรมและสังคม สำหรับบุคคลต้องการริเริ่มธุรกิจด้านวิจัยและพัฒนาหรือด้านที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีหรือองค์กรที่ต้องการเริ่มแผนก R&D ในสภาพแวดล้อมแบบมหาวิทยาลัย มีทั้งการให้บริการเช่าพื้นที่ห้องปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาสำหรับอุตสาหกรรมเฉพาะองค์กร (Pre-R&D Laboratory, Pre-Lab) และการบริการพื้นที่ทำงานร่วมกันหรือห้องประชุม (Co R&D Space) ที่ชั้น 9 ของอาคาร TGGS ซึ่งมี ผศ.ดร. กรุณา ตู้จินดา รับหน้าที่เป็นหัวหน้าโครงการ อยู่ภายใต้โครงการศูนย์ส่งเสริมและสร้างความเข้มแข็งให้ภาคเอกชนในประเทศไทย (Company R&D Center, CRDC) ที่ริเริ่มตั้งแต่ปี 2560 โดยร่วมมือกับสำนักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและนวัตกรรมแห่งชาติ (สวทน.) หรือปัจจุบันได้ปรับโครงสร้างและเปลี่ยนเป็นสำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) โดยโครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออำนวยความสะดวกให้กับภาคเอกชนในการพัฒนาแผนก R&D โดยจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อในการพัฒนานวัตกรรมใหม่ในพื้นที่มหาวิทยาลัย
Pre-R&D Space
คำแถลงการณ์และคำอธิบาย
https://tggs.kmutnb.ac.th/testing-and-labs/pre-rd-lab-centre
Co-R&D Space
หากสนใจใช้บริการ Pre-Lab และ Co R&D Space สามารถติดต่อได้ที่ CRDC บริเวณ ชั้น 9 ตึก TGGS หรือ อีเมล์
crdc.solution@gmail.com
และสามารถดาวน์โหลดแบบฟอร์มขอใช้บริการได้ที่
https://tggs.kmutnb.ac.th/wp-content/uploads/2019/09/ApplicationForm-Pre-%E2%80%93-RD-Lab_Eng_Update2019.pdf
สอบถามข้อมูลเพิ่มเติม:
งานวิจัยและบริการวิชาการ TGGS
ชั้น 3 ห้อง 309 อาคาร TGGS
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
เลขที่ 1518 ถนนประชาราษฎร์ สาย 1 แขวงวงศ์สว่าง เขตบางซื่อ กรุงเทพมหานคร 10800
โทรศัพท์ 0 2555 2000 ต่อ 2907, 2938
อีเมล์ research@tggs.kmutnb.ac.th
* ข้อมูล ณ วันที่ 23 ธ.ค. 2564